ค้นหา :
 ปฏิทินกิจกรรม
« พฤศจิกายน 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
      1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
ดูปฏิทินทั้งหมด
หน้าแรก
เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข้อมูลการประชุม
ข้อมูลเผยแพร่
ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวสารบ้านเมือง
ข่าววิทยุรัฐสภา
หอสมุดรัฐสภา
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ
รัฐสภาระหว่างประเทศ
ของที่ระลึก
แผนผังเว็บไซต์
ชื่อเข้าใช้ :
รหัสผ่าน :  
   
ติดต่อ Call Center
ติดต่อ Call Center
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗
ข้อบังคับการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข ๒๕๕๘)
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน
คลิกเข้าสู่เว็บไซต์รับฟังความคิดเห็น
คลิกเพื่อรับชมการถ่ายทอดสดฯ


  • ขอเชิญผู้สนใจส่งประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า    download_icon

  • สารานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ    download_icon

  • โครงการยกย่องเยาวชนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติฯ    download_icon

  • กรอบการดำเนินงานสปช.    download_icon

 แสดงทั้งหมด...
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

(เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 2 ต.ค. 57)

Untitled Document
 
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ประธานสปช. รับหนังสือจากเครือข่ายสมัชชาสุขภาพเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย

๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 25 ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2557

วันอังคารที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๐.๐๐ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง อาคารรัฐสภา ๑ นายเทียนฉาย กีระนันทน์ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองศาสตราจารย์ทัศนา บุญทอง รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ คนที่สอง  และนางพรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ ประธานกรรมาธิการปฏิรูประบบสาธารณสุข รับหนังสือจากเครือข่ายสมัชชาสุขภาพเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย เพื่อเสนอแนะข้อคิดเห็นในการยกร่างรัฐธรรมนูญด้านการปฏิรูปสาธารณสุข ดังนี้ โดยแบ่งเป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนที่ ๑ เห็นควรบรรจุข้อเสนอเหล่านี้ไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับใหม่ ได้แก่
๑. ควรมีการประกันสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยไม่น้อยกว่าที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ ให้การรับรองไว้
๒. ควรกำหนดให้บุคคลมีสิทธิในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เพื่อเป็นหลักประกันและป้องกันการละเมิดสิทธิจากบุคคล องค์กร หรือหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งควรกำหนดให้ประชาชนมีหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการให้เกิดสิ่งแวดล้อมและสภาแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
๓. ควรกำหนดให้ระบบสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคม และเป็นส่วนหนึ่งของระบบความมั่นคงของประเทศ รัฐและทุกภาคส่วนในสังคมพึงให้ความสำคัญอย่างสูงแก่การพัฒนาระบบสุขภาพ
๔. ควรกำหนดให้ระบบสุขภาพต้องให้ความสำคัญต่อการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่สุขภาพที่ยั่งยืนและการพึ่งตนเองได้ของประชากร
๕. ควรกำหนดเป็นหลักการสำคัญในการส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง และเป็นเจ้าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม  ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่อยู่ในชุมชน ให้มีอำนาจในการบริหารจัดการทุนในชุมชนด้วยตนเอง
ส่วนที่ ๒ ทางเครือข่ายฯ ขอเสนอข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย โดยขอให้ยึดแนวทางการปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศไทยให้สอดคล้องกับมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ ประจำปี ๒๕๕๖ มติ ๖.๘ เรื่อง การปฏิรูประบบสุขภาพ ภายใต้การปฏิรูปประเทศไทย
 
download download Download all images download