ค้นหา :
 ปฏิทินกิจกรรม
« พฤศจิกายน 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
      1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
ดูปฏิทินทั้งหมด
หน้าแรก
เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข้อมูลการประชุม
ข้อมูลเผยแพร่
ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวสารบ้านเมือง
ข่าววิทยุรัฐสภา
หอสมุดรัฐสภา
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ
รัฐสภาระหว่างประเทศ
ของที่ระลึก
แผนผังเว็บไซต์
ชื่อเข้าใช้ :
รหัสผ่าน :  
   
ติดต่อ Call Center
ติดต่อ Call Center
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗
ข้อบังคับการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข ๒๕๕๘)
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน
คลิกเข้าสู่เว็บไซต์รับฟังความคิดเห็น
คลิกเพื่อรับชมการถ่ายทอดสดฯ


  • ขอเชิญผู้สนใจส่งประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า    download_icon

  • สารานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ    download_icon

  • โครงการยกย่องเยาวชนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติฯ    download_icon

  • กรอบการดำเนินงานสปช.    download_icon

 แสดงทั้งหมด...
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

(เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 2 ต.ค. 57)

Untitled Document
 
คณะกรรมาธิการปฏิรูปเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง สภาปฏิรูปแห่งชาติ



                   วันจันทร์ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๑.๑๕ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง อาคารรัฐสภา ๑  นายสมชัย ฤชุพันธุ์
ประธานกรรมาธิการปฏิรูปเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง พร้อมด้วย นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ  ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ
ได้ร่วมกันแถลงข่าวถึงการปฏิรูประบบงบประมาณว่า มีแนวคิดในการทำงานและการปฏิรูปที่ตรงกันกับสำนักงบประมาณใน
 ประเด็นการเพิ่มความครอบคลุมของงบประมาณได้กำหนดไว้ว่าในงบประมาณรายจ่ายประจำปี จะรวมถึงเงินรายได้ เงินสะสม
เงินกู้และเงินนอกงบประมาณรวมทั้งเงินบริจาคของหน่วยงานต่าง ๆ มาใช้ประกอบในการตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี ซึ่ง
ที่ผ่านมาหน่วยงานจะต้องมานำเสนอต่อฝ่ายนิติบัญญัติโดยคณะกรรมาธิการอยู่แล้วและในอนาคตจะต้องเพิ่มให้ระบุไว้
ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เสนอต่อสภาผู้แทนหรือสภานิติบัญญัติด้วย ส่วนการนำกิจกรรมกึ่งการคลังเข้ามาสู่ระบบ
งบประมาณ  เนื่องจากเป็นลักษณะของภาระค่าใช้จ่ายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี คงจะต้องใช้ตาม พ.ร.บ. การพิจารณางบประมาณฯ
ในมาตรา ๒๓ ว่าถ้ามีการกำหนดงบประมาณผูกพันข้ามปีจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อน  สำหรับการพิจารณา
การจัดทำเครื่องมือในการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ในระยะปานกลางและระยะยาว เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดทำ
งบประมาณให้เกิดความรอบคอบในเรื่องของความจำเป็นที่ต้องจัดทำผูกพันงบประมาณข้ามปีในระยะยาวของโครงสร้างพื้นฐาน
จะมีเครื่องมือที่จะจัดสรรงบประมาณเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมและโปร่งใส ส่วนการจัดสรรงบประมาณลงเชิงพื้นที่ จะดูทั้ง ๓ มิติ
คือ มิติที่ ๑ ยุทธศาสตร์รัฐบาลหรือนโยบายรัฐบาล มิติที่ ๒ มิติ  เชิงอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวงกรมต่าง ๆ และมิติที่ ๓
 มิติเชิงพื้นที่ ความต้องการของพื้นที่จังหวัด ท้องถิ่นว่ามีความต้องการในการใช้จ่ายอย่างไร ถ้าโครงการใดสอดคล้องทั้ง ๓ มิติ ก็จะ
ได้รับการสนับสนุนการตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีในปีนั้น ๆ  และในอนาคตจะมีการเสนอให้การจัดทำงบประมาณรายจ่าย
ประจำปีแต่ละปี ซึ่งต้องระบุให้ชัดเจนว่าจะนำไปใช้จ่ายดำเนินการในส่วนใดบ้าง ต้องใช้งบประมาณใด และจะมีผลผูกพันกี่ปี ส่วน
ระบบการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัดในเรื่องของการจัดการงบประมาณนั้น จะเปิดโอกาสให้ผู้ว่าราชการแต่ละจังหวัด
สามารถบริหารจัดการงบประมาณได้เองตามนโยบายของรัฐบาลชุดนี้ นอกจากนี้สำนักงบประมาณได้จัดตั้งสำนักงบประมาณเขตพื้นที่
จำนวน ๑๘ เขต เพื่อไปช่วยให้คำปรึกษา ในการบริหารงบประมาณ และจัดทำงบประมาณและติดตามเร่งรัดงบประมาณใน ๑๘ เขต
กลุ่มจังหวัด เพื่อให้การทำงานในเขตพื้นที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
 
download download Download all images download