ค้นหา :
 ปฏิทินกิจกรรม
« พฤศจิกายน 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
      1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
ดูปฏิทินทั้งหมด
หน้าแรก
เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข้อมูลการประชุม
ข้อมูลเผยแพร่
ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวสารบ้านเมือง
ข่าววิทยุรัฐสภา
หอสมุดรัฐสภา
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ
รัฐสภาระหว่างประเทศ
ของที่ระลึก
แผนผังเว็บไซต์
ชื่อเข้าใช้ :
รหัสผ่าน :  
   
ติดต่อ Call Center
ติดต่อ Call Center
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗
ข้อบังคับการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข ๒๕๕๘)
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน
คลิกเข้าสู่เว็บไซต์รับฟังความคิดเห็น
คลิกเพื่อรับชมการถ่ายทอดสดฯ


  • ขอเชิญผู้สนใจส่งประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า    download_icon

  • สารานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ    download_icon

  • โครงการยกย่องเยาวชนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติฯ    download_icon

  • กรอบการดำเนินงานสปช.    download_icon

 แสดงทั้งหมด...
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

(เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 2 ต.ค. 57)

Untitled Document
 
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ประธานกรรมาธิการปฏิรูปการเมืองและประธานกรรมาธิการปฏิรูปกฏหมายและกระบวนการยุติธรรม ร่วมแถลงข่าว เกี่ยวกับข้อเสนอในการแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ

๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 25 ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2558

วันจันทร์ที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๔.๓๐ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง อาคารรัฐสภา ๑ ศ าสตราจารย์สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ ประธานกรรมาธิการปฏิรูปการเมือง นายเสรี สุวรรณภานนท์ ประธานกรรมาธิการปฏิรูปกฏหมายและกระบวนการยุติธรรม พร้อมด้วยคณะกรรมาธิการ ร่วมแถลงข่าวเกี่ยวกับข้อเสนอการแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ โดยกล่าวว่า ประเด็นในการเสนอคำขอแก้ไข
๑. ให้จัดลำดับหมวดในโครงสร้างรัฐธรรมนูญใหม่ คือ ตัด ภาค ออกไป จัดเป็นหมวดๆ โดยจัดเป็นหมวด ๑ ทั่วไป หมวด ๒ พระมหากษัตริย์ หมวด ๓ ประชาชนชาวไทย หมวด ๔ ฝ่ายนิติบัญญัติ หมวด ๕ ฝ่ายบริหาร หมวด ๖ ฝ่ายตุลาการ หมวด ๗ องค์กรตามรัฐธรรมนูญและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ หมวด ๘ ความมั่งคงของประเทศไทย หมวด ๙ การพัฒนาประเทศ หมวด ๑๐ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญและบทเฉพาะกาล
๒. การได้มาของฝ่ายนิติบัญญัติ โดยกำหนดให้รัฐสภาประกอบด้วย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ส.ส. ๕๐๐ คน ประกอบด้วย ส.ส. เขตจำนวน ๔๐๐ ส.ส. บัญชีรายชื่อ ๑๐๐ คน โดยการแบ่งเป็นเขตใหญ่ เขตละ ๒ - ๓ คน ส่วน ส.ว. ให้มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด จังหวัดละ ๒ คน รวม ๑๕๔ คน
๓. ฝ่ายบริหาร ให้นายกรัฐมนตรีมาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้
๔. ฝ่ายตุลาการ กำหนดให้มีทั้ง ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง องค์กรภาคประชาชน ศาลทหาร
๕. ให้ กกต. เป็นผู้กำกับและจัดการเลือก อำนาจในการกำกับดูแลการเลือกตั้งและจัดการเลือกตั้ง ทั้งมีอำนาจในการออกใบแดง และใบเหลือง และให้ตัดกจต. ออก
๖. ให้ตัดอำนาจฝ่ายบริหารในกระบวนการสกัดกั้นการอภิปรายไม่ไว้วางใจตามมาตรา ๑๘๑ มาตรา ๑๘๒ ออก และเพิ่มเติมแนวทางการตรวจสอบถ่วงดุลตามมาตรา ๑๖๖ ๑๖๗  โดยให้เพิ่ม คณะกรรมการไต่สวนอิสระ มีองค์ประกอบ ๗ ท่าน ประกอบด้วย ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ประธานกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎร เลือกกันเอง ๑ คน ประธานกรรมาธิการวุฒิสภาเลือกกันเอง ๑ คน ให้ประธาน ปปช. เป็นประธานกรรมการ และหากคดีมีมูล ให้ส่งฟ้องศาลคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
๗. ให้มีกระบวนการถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง โดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา
๘. จัดกระบวนการยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพและสามารถใช้บังคับที่เป็นผล
๙. การปฏิรูปประเทศให้บัญญัติไว้ในหมวดการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน รายละเอียดการปฏิรูปให้ไปบัญญ้ติไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
๑๐. ให้มีการจัดทำกฎหมายเกี่ยวกับการสร้างความสามัคคีปรองดองภายใน ๑ ปี ตามที่กฎหมายบัญญัติ 
download download Download all images download