|
|
|
ปฏิทินกิจกรรม |
« |
พฤศจิกายน 2567 |
» |
อา. |
จ. |
อ. |
พ. |
พฤ. |
ศ. |
ส. |
| | | | |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
10 |
11 |
12 |
13 |
14 |
15 |
16 |
17 |
18 |
19 |
20 |
21 |
22 |
23 |
24 |
25 |
26 |
27 |
28 |
29 |
30 | |
|
|
|
|
|
|
ดูปฏิทินทั้งหมด |
|
|
|
|
|
e-Mail@parliament.go.th |
|
|
|
|
|
วีดิทัศน์สภาปฏิรูปแห่งชาติ |
|
|
|
|
|
|
-
กรอบการดำเนินงานสปช.
|
|
|
|
|
|
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ |
เลขานุการกรรมาธิการปฏิรูประบบสาธารณสุขและคณะร่วมกันแถลงข่าว
๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 2 ๏ฟฝ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2558
|
วันอังคารที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ เวลา ๑๕.๑๕ นาฬิกา นายประเสริฐ ศัลยวิวรรธน์ เลขานุการกรรมาธิการปฏิรูประบบสาธารณสุข และคณะ ร่วมกันแถลงข่าว เรื่อง เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ดีทุกสิทธิ สู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมาธิการฯ มีความเห็นพ้องต้องกันดังนี้
๑. การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนที่ต้องได้รับจากรัฐ อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นภาระหน้าที่ของทุกภาคส่วนของระบบสุขภาพ ต้องร่วมมือกันดูแลรับผิดชอบเพื่อความปลอดภัยของประชาชนเป็นที่ตั้ง
๒. การเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต ต้องมีคำจำกัดความที่ชัดเจน และทุกคนภาคส่วนของระบบสุขภาพและประชาชนต้องรับรู้ ยอมรับและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
๓. ควรมีหน่วยงานหลักหน่วยงานเดียวที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงในเรื่องค่าใช้จ่าย เป็นผู้รับผิดชอบ
๔. การแก้ไขปัญหาทั้งหมดนี้ เป็นการแก้ไขปัญหาในระยะสั้น ในระยะยาวต้องแก้ไขทั้งระบบสุขภาพ เพื่อให้มีหน่วยงานและบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
๕. คณะกรรมาธิการฯ ได้นำประเด็นความเจ็บป่วยฉุกเฉินมาเป็นกรณีศึกษาเพื่อหาแนวทางปฏิรูประบบการดูแลให้มีประสิทธิภาพ พอเพียงและยั่งยืน โดยเป็นการแก้ไขปัญหาในระยะยาว เพื่อความปลอดภัยของประชาชนตลอดไป |
|
|
สงวนลิขสิทธิ์โดย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร Call Center 1743 ถนนอู่ทองใน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร 0 2244 1000 e-Mail : webmaster@parliament.go.th |
|
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ |
|
(เริ่มนับ 2 ต.ค. 57) |
|
|
|