|
|
|
ปฏิทินกิจกรรม |
« |
พฤศจิกายน 2567 |
» |
อา. |
จ. |
อ. |
พ. |
พฤ. |
ศ. |
ส. |
| | | | |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
10 |
11 |
12 |
13 |
14 |
15 |
16 |
17 |
18 |
19 |
20 |
21 |
22 |
23 |
24 |
25 |
26 |
27 |
28 |
29 |
30 | |
|
|
|
|
|
|
ดูปฏิทินทั้งหมด |
|
|
|
|
|
e-Mail@parliament.go.th |
|
|
|
|
|
วีดิทัศน์สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ |
|
|
|
|
|
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ |
นายวรวิทย์ ศรีอนันต์รักษา สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ และนายไพบูลย์ นิติตะวัน อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แถลงข่าว
๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 24 ๏ฟฝ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2559
|
วันพฤหัสบดีที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง อาคารรัฐสภา ๑ นายวรวิทย์ ศรีอนันต์รักษาสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ และนายไพบูลย์ นิติตะวัน อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญและอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติแถลงถึงกรณีข้อเสนอของคสช. ในระบบการเลือกตั้ง ส.ส. กับมติของกรรมการยกร่างรัฐธรรมนูญ โดยกล่าวว่าจากการที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เสนอให้ใช้ระบบเขตเลือกตั้งส.ส เป็นเขตเลือกตั้งใหญ่ มีผู้สมัครเลือกตั้ง ๓ คน แต่ละเขตผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งได้สิทธิ์ละ ๑ เสียง นั้น จะทำให้เกิดความหลากหลายของส.ส. ในแต่ละจังหวัด แต่ละภาคให้มีตัวแทนของส.ส. ของพรรคการเมืองหลาย ๆ พรรค อยู่ร่วมกันจะเป็นประโยชน์ลดการแบ่งแยก และจะเป็นประโยชน์ต่อความมั่นคงชองชาติ เพราะระบบการเลือกตั้งที่ใช้เขตเดียวเบอร์เดียว จนเป็นที่มาของการยึดครองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบเขตพรรคใดพรรคหนึ่งทั้งภาคทั้งจังหวัด และทำให้ประชาชนที่มีเสียงข้างน้อยที่มีความนิยมในพรรคการเมืองอื่นอยู่ในจังหวัดหรือในภาคนั้นไม่มีส.ส.ของตนเอง แต่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.)ได้มีมติว่ายังคงให้การเลือกตั้งส.ส.ใช้บัตรลงคะแนนเพียงหนึ่งใบ เนื่องจากข้อเสนอที่คสช. แนะนำมาให้ใช้บัตรเลือกตั้งสองใบนั้นไม่สามารถเข้ากับหลักการที่กรธ. วางเอาไว้ได้ จึงยืนยันให้ใช้ระบบการเลือกตั้งตามที่กรธ. กำหนดไว้ตามเดิม โดยไม่มีการระบุไว้ในบทเฉพาะกาล ดังนั้นจึงขอเสนอพบกันครึ่งทางระหว่างความเห็นของ กรธ. และคสช. โดยใช้ระบบแบ่งเขตเลือกตั้งเป็นเขตใหญ่ ๓ คน ตามที่คสช. เสนอและบัตรเลือกตั้ง ๑ ใบ ตามที่กรธ. เสนอ จึงจะทำให้ได้จำนวน ส.ส. สะท้อนกลับความนิยมของพรรคนั้นได้ |
|
|
สงวนลิขสิทธิ์โดย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ถ.ประดิพัทธ์ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร 0 2244 2500 e-Mail : webmaster@parliament.go.th |
|
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ |
|
(เริ่มนับ 5 ต.ค. 58) |
|
|
|